จากกรณีที่มีการพบศพถูกเผาในห้องน้ำปั๊มร้าง โดยนายเกียรติศักดิ์ เสียบขุนทด บาคาร่าเว็บตรงอายุ 30 ปี นักปฏิบัติธรรมอ้างว่านั่งสมาธิและเห็นนิมิตศพดังกล่าวขอความช่วยเหลือจนตามไปเจอ ล่าสุด นายเจริญ ทรัพย์สมบัติ อายุ 62 ปี ซึ่งระบุว่าเป็นญาติของผู้ตายได้เข้าพบเจ้าหน้าที่ตำรวจที่ สภ.วังกะพี้ เพื่อยืนยันว่าศพดังกล่าวเป็นญาติของตนจริง ซึ่งคือ นายกิ่งเพชร ชัยทิพย์ อายุ 65 ปี ชาว ต.บ้านขาม อ.จัตุรัส จ.ชัยภูมิ
นอกจากนี้ นายเจริญ ได้ยืนยันว่ารถกระบะคันที่พบใกล้ที่เกิดเหตุเป็นของนายกิ่งเพชรจริง
ซึ่งขับออกจากบ้านที่จังหวัดชัยภูมิตั้งแต่ วันที่ 23 ก.ย.62 ที่ผ่านมา และหลังจากนั้นก็ไม่สามารถติดต่อได้อีก จนกระทั่งมาทราบข่าวจากสื่อจึงได้รีบเดินทางมาดู และยืนยันว่าเป็นญาติของผู้ตาย โดยจากที่ได้ทำการสำรวจรถดังกล่าวคล้ายถูกทำลายหลักฐาน เพราะรถคันเดิมจะติดแผ่นป้ายทะเบียน 5ฒ – 2440 กรุงเทพมหานคร
ทั้งนี้ สาเหตุจะเป็นการฆาตกรรมหรือไม่นั้น ต้องรอให้เจ้าหน้าที่ตำรวจหาหลักฐานจากสถานที่ต่างๆ ว่า ถูกลวงมาฆ่าหรือไม่ เพราะผู้ตายมีลักษณะนิสัยใจเย็น มีอาชีพขับรถรับจ้าง อยู่ตัวคนเดียวไม่มีครอบครัวแต่อย่างใด
สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง รายงาน เมื่อวันที่ 3 ต.ค.62 เวลาประมาณ 08.00 น. พล.ต.ต.วีรพล เจริญศิริ ผบก.ตม.2 ได้รับรายงานจาก พ.ต.อ.เพลิน กลิ่นพยอม ผกก.สส.ปป.บก.ตม.2 ว่าในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา กองกำกับการสืบสวนปราบปราม กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 2 มีผลการจับกุมคดีสำคัญๆ 3 ราย
รายที่ 1 เมื่อวันที่ 23 ก.ย.62 เวลาประมาณ 20.00 น. จับกุมหนุ่มอิหร่านผู้ลี้ภัยในประเทศฝรั่งเศส อายุประมาณ 47 ปี ใช้หนังสือเดินทางประเทศฝรั่งเศสของผู้อื่น (หน้าเหมือน หรือ IMPOSTOR) เพื่อใช้ในการเดินทาง ทั้งนี้ ผู้ถูกจับกุมได้เดินทางมาจากประเทศเยอรมันและเมื่อมาถึงประเทศไทย ได้ไปเข้ารับการตรวจอนุญาตเข้าเมืองด้วยระบบพิสูจน์ อัตลักษณ์บุคคล (Biometrics) โดยระบบได้แจ้งว่า “ความน่าเชื่อถือภาพผู้ถือหนังสือเดินทางกับภาพที่ถูกบันทึกไว้ใน Chip ภายในหนังสือเดินทางมีค่าเพียง 19%” จากการสืบสวนหนุ่มอิหร่านอ้างว่า “ตนเองได้ซื้อเอกสารดังกล่าวที่สถานีรถไฟในประเทศฝรั่งเศส ราคาประมาณ 520 ยูโร (ประมาณ 17,500 บาท) ก่อนจะเดินทางมาประเทศไทยและใช้หนังสือเดินทางเล่มดังกล่าวในการเดินทาง เพื่อไปลักลอบทำงานในประเทศญี่ปุ่น” จึงถูกจับกุมในข้อหา “ใช้หนังสือเดินทางของผู้อื่นโดยมิชอบอันน่าจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน” นำส่ง พงส.สภ.ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิดำเนินคดี
รายที่ 2 เมื่อวันที่ 25 ก.ย.62 เวลาประมาณ 21.00 น. จับกุมชายไม่ทราบชื่อสกุลที่แท้จริง
อายุประมาณ 57 ปี ใช้หนังสือเดินทางประเทศเมียนมาปลอม (ปลอมหน้าข้อมูลส่วนบุคคล) ในการเดินทางเข้าประเทศไทย และเมื่อเดินทางมาถึงท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ได้ไปเข้ารับการตรวจอนุญาตเข้าเมืองผ่านระบบพิสูจน์อัตลักษณ์บุคคล (Biometrics) โดยระบบได้แจ้งว่า “มีการปลอมแปลงหรือมีการแก้ไขในส่วนของระบบนิรภัย “MRZ” (Machine Readable Zone)” จากการสืบสวนชายไม่ทราบสัญชาติลักษณะคล้ายชาวจีนผู้ถือหนังสือเดินทางประเทศเมียนมาปลอมอ้างว่า “ตนเองได้หนังสือเดินทางประเทศเมียนมามาจากเพื่อนต่างชาติไม่ทราบชื่อ-ชื่อสกุลเป็นผู้แนะนำให้รู้จักกับนายหน้าชาวเมียนมาผู้จัดหาหนังสือเดินทางปลอมโดยได้รับหนังสือเดินทางที่เมืองย่างกุ้ง ประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และได้จ่ายเงินค่าดำเนินการ จำนวน 25,000 จ๊าด (ประมาณ 1,250 บาท)” จึงถูกจับกุมในข้อหา “ใช้หรือมีไว้เพื่อใช้ซึ่งหนังสือเดินทางปลอมฯ (หนังสือเดินทางประเทศเมียนมาปลอม)” นำส่ง พงส.สภ.ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิดำเนินคดี
รายที่ 3 เมื่อวันที่ 30 ก.ย.62 เวลาประมาณ 03.00 น. จับกุมหญิงสาวชาวเคนย่า อายุประมาณ 28 ปี กล่าวคือ ตามวันเวลาข้างต้นขณะที่ผู้ถูกจับกุมจะเดินทางออกนอกประเทศไทย ได้เข้ามารับการตรวจออกนอกราชอาณาจักรผ่านระบบพิสูจน์อัตลักษณ์บุคคล (Biometrics) ก่อนที่ระบบจะแจ้งเตือนว่า “คนต่างด้าวรายนี้อยู่เกินในราชอาณาจักรถึง 715 วัน” จนท.ตม.ผู้ทำหน้าที่ประจำช่องตรวจ จึงได้ตรวจสอบข้อมูลพบว่า “ผู้ถูกจับกุมได้เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 18 Jul 2017 วีซ่าประเภท TR อนุญาตให้อยู่ถึงวันที่ 15 SEP 2017 ขออยู่ต่อที่ ตม.จว.สงขลา อนุญาตถึง 15 OCT 2017 และปรากฏรอยตราประทับขาออกเลขที่ S1742 ปลอม” อีกทั้งจากการสืบสวนซึ่งผู้ถูกจับกุมให้การยอมรับว่า “ตนเองได้ส่งหนังสือเดินทางไปให้นายหน้าที่ประเทศเคนย่าดำเนินการประทับรอยตราประทับปลอม ซึ่งได้ชำระเงินเป็นค่าดำเนินการ จำนวน 10,000 บาท” จึงถูกจับกุมในข้อหา “ปลอมหรือใช้รอยตราประทับที่มีการแก้ไข (รอยตราประทับขาออก ด่าน ตม.ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รหัส S1742) และอยู่ในราชอาณาจักรโดยการอนุญาตสิ้นสุด” นำส่ง พงส.สภ.ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิดำเนินคดี
การจับกุมดังกล่าว เป็นผลจากความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในสนามบิน โดยเฉพาะการให้ความรู้แก่หน่วยงานที่เป็นเครือข่ายประชาคมของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง โดยมีการประชุมประชาคมข่าวเป็นประจำทุกเดือน ซึ่งมีกองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 2 เป็นเจ้าภาพ และมีหน่วยงานต่างๆ ร่วม เช่น การท่าอากาศยาน หรือ AOT, กลุ่มธุรกิจ การบิน หรือ AOC, ศุลกากร, ปปส., หน่วยงานตำรวจต่างๆ เช่น ตำรวจท่องเที่ยว, ตำรวจสันติบาล, ตำรวจ ปส. และ สภ.สุวรรณภูมิ เป็นต้น
สตม. ขอเรียนให้ท่านทราบว่า สตม. มีมาตรการในการตรวจสอบ กวดขัน และปราบปรามการกระทำความผิดใน ด้านต่างๆ รวมทั้งดำเนินการตรวจสอบชาวต่างชาติที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม กระทำผิดกฎหมาย ก่อเหตุอันตรายต่อบาคาร่าเว็บตรง